สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา

สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา



     ประเภทของสื่อและดทคโนโลยีการศึกษาในแหล่งทรััพยากรการเรียนรู้ ณ สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา ตามกรวยประสบการณ์ของเอดการ์เดล


วจนสัญลักษณ์              =     ข้อมูลข่าวสารให้ความรู้
ทัศนสัญลักษณ์             =     สัญลักษณ์ที่ติดตามผนังอาคาร
ภาพนื่ง                         =     การถ่ายรูป
ภาพยนตร์                    =     สื่อวิดีทัศน์สัตว์ทะเลดุร้าย
โทรทัศน์การศึกษา       =     สื่อบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับสัตว์ทะเล
นิทรรศการ                   =     บอร์ดให้ความรู้ต่างๆรอบอาคาร
การศึกษานอกสถานที่  =     เรียนรู้ที่สถานบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล
การสาธิต                      =    การสาธิตการดำน้ำให้อาหารปลา
ประสบการณ์นาฏการ   =    การแสดงการดำน้ำ
ประสบการณ์จำลอง      =    แบบจำลองระบบนิเวศ
ประสบการณ์ตรง          =    ได้ชมปลาตัวจริงๆ

สัตว์ทะเลที่สมญานามว่าเป็นราชาแห่งท้องทะเล คือ ฉลาม



น้ำทะเลที่อยู่ในตู้ปลาที่สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา นำมาจาก แสมสาร สัตหีบ


ขั้นที่ 1 ของแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา
มี 5 ส่วน
1.สัตว์ที่อาศัยเขตน้ำขึ้นน้ำลง


2. สัตว์ในแนวปะการัง




3.
การอยู่รวมกันของสิ่งมีชีวิต





4.
สัตว์มีชีวิตประเภทหอย



5.
สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังน้ำเค็ม


ขั้นที่ 2 ของแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา
มี 5 ส่วน
1.
จัดแสดงนิทรรศการเฉลิมพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
2.
นิทรรศการเรื่องราวของอาณาจักรของสิ่งมีชีวิตในทะเล
3.
นิทรรศการเรื่องราวของทะเลและระบบนิเวศในทะเล
4.
นิทรรศการเกี่ยวกับความสำคัญของทะเลที่มีต่อมนุษย์
5.
ห้องพิพิธภัณฑ์เปลือกหอยและวิวัฒนาการของหอย





ใช้สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา โดยจัดกิจกรรมเกมส์มาช่วยในการจัดการเรียนรู้ โดยเขียนครอบคลุม 3 ประเด็นดังนี้

ขั้นนำ
     
นำภาพปลาจาพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ทางทะเลมาให้นักเรียนได้ดู ให้เกิดความสนใจ ในสีสันและรูปร่างของปลาต่างๆ และถามว่าปลาเหล่านั้นชื่ออะไร ลักษณะต่างกันอย่างไร

ขั้นสอน
     
ให้นักเรียนได้รับชมปลาตัวจริงจากในพิพิธภันฑ์ พร้อมแจกใบงานให้นักเรียนได้ทำและหาความรู้ขณะเดินชม

ขั้นสรุป
   
ครูถามนักเรียนเกี่ยวกับความรู้ที่ได้มาในการชมพิพิธภัณฑ์ และปลูกฝังการอนุรักษณ์ธรรมชาติกับเด็กนักเรียน

ขอขอบคุณ วิทยากรผู้บรรยายให้ความรู้ คุณ มาโนช    โกมลวนิช

0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น